SDG Updates | สำรวจรายงาน SDG Index 2024 โลกยังไม่บรรลุเป้าหมายใด – ไทยคะเเนนเท่าเดิมเเต่อันดับร่วง

เผยแพร่แล้ว ! "SDG Highlights 2023: Thailand's Unsustainable Development Review" ไฮไลต์สถานการณ์สำคัญของ​ "ความไม่ยั่งยืน" ในประเทศไทย

เวทีเสวนาวิชาการ "SDG Index 2023 กับการขับเคลื่อนประเทศไทยในครึ่งหลังของวาระการพัฒนา 2030"

งานเสวนาวิชาการสาธารณะ "Broken Governance | ความผุพังของธรรมาภิบาล = รากความไม่ยั่งยืนของไทย"

SDG Insights | Inside SDG Index: เพราะอะไรสถานะ SDGs ใน SDG index ของไทยเปลี่ยนแปลงตลอด 7 ปีที่ผ่านมา ?

SDG Updates | SDG Index 2023 สถานการณ์โลก - อาเซียน - ไทยหลังผ่านมาครึ่งทาง

SDG Insights | PM 2.5 ภัยคุกคามต่อความไม่ยั่งยืนด้านสุขภาพของคนไทย

SDG Insights | ชำแหละนโยบายแก้ฝุ่น PM2.5 ในภาคเกษตร : อะไรคือต้นเหตุของความไม่ยั่งยืน

Latest Post See All Post

มรสุม 2567: เมื่อเส้นชีวิตกลายเป็นภัยพิบัติ สำรวจสถานการณ์น้ำท่วมเเละการตั้งรับปรับตัวของไทย

ดร.ณัฐวิคม พันธุวงศ์ภักดี มรสุม เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในหลายภูมิภาคทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มรสุมมีหน้าที่สำคัญในการส่งน้ำฝนที่จำเป็นต่อการเกษตร เติมเต็มแหล่งน้ำ และสนับสนุนวิถีชีวิตของผู้คนมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของมรสุมจากเส้นชีวิตที่หล่อเลี้ยงการเกษตรและระบบนิเวศ กลายเป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายในหลายพื้นที่ ในสถานการณ์เช่นนี้ การพูดคุยในสังคมไม่... (เพิ่มเติม)
By SDG MOVE TEAM / OCT 08, 2024
About

ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) อยู่ภายใต้คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีพันธกิจ 3 ประการคือ (1) เป็นศูนย์ความรู้ (knowledge hub) ที่เกี่ยวกับ SDGs (2) ทำงานวิจัยเชิงนโยบายเพื่อขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทย และ (3) ประสานงานเครือข่ายทุกภาคส่วนและผลักดันการจัดตั้งและดำเนินการ Sustainable Development Solutions Network (SDSN) ประเทศไทย

Insights
SEE ALL POST

SDG Insights | เมื่อเพศไม่ใช่อุปสรรค: สำรวจบทบาทและการมีส่วนร่วมของนักวิชาการหญิงในภาคพลังงาน

‘พลังงาน’ เป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญที่หลายภาคส่วนให้ความสำคัญในปัจจุบัน  เนื่องจากเกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาระดับโลกหลายด้าน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ซึ่งส่งผลให้ภาคพลังงานเติบโตอย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันผู้หญิงกลับมีบทบาทน้อยในกระบวนการตัดสินใจและการพัฒนาในภาคพลังงาน จากรายงานขององค์การพลังงานระหว่างประเทศ  (International Energy Agency, IEA) ปี 2023 พบว่าประเทศไทยมีสัดส่วนผู้หญิงในตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงในภาคพลังงานเพียง 15... (เพิ่มเติม)
News
SEE ALL POST
สหประชาชาติประกาศปฏิญญาระดับโลก เพื่อต่อสู้ปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)
องค์การสหประชาชาติได้บรรลุความสำเร็จในการสร้างความตกลงระดับโลกเพื่อต่อสู้กับปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ซึ่งกำลังเป็นภัยคุกค... (เพิ่มเติม)
สรุปท่าทีของไทยในการประชุม UNGA 79 ชูประเด็นนโยบายความยั่งยืน -พร้อมเป็นสะพานเชื่อมความร่วมมือ
สิ้นสุดลงแล้ว สำหรับการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ครั้งที่ 79 (79th Session of the United Nations General Assembly: UNGA79) ที่จัด... (เพิ่มเติม)
ไทยได้รับคัดเลือกเป็นคณะมนตรี UNHRC -โฆษกนายกฯ ชี้เป็นโอกาสไทยผลักดันประเด็นสิทธิมนุษยชนในเวทีโลก
วันที่ 9 ตุลาคม 2567 โซเชียลมีเดีย X ของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Human Rights : UNHRC) เผยแพร่ผลการค... (เพิ่มเติม)
บทเรียนการฟื้นฟูรถไฟสายท้องถิ่นในญี่ปุ่น ไปสู่การพัฒนาชุมชน การเดินทาง และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทความใน World Economic Forum ชี้ให้เห็นว่าการเดินทางด้วยรถไฟซึ่งเคยเป็นหัวใจหลักของการคมนาคมในญี่ปุ่นกำลังเผชิญกับความท้าทายอย... (เพิ่มเติม)