ผู้หญิงยังคงเผชิญกับ ‘ความรุนแรงบนฐานของเพศสภาพ’ (GBV) ในแต่ละวัน แต่รัฐบาลและงานด้านมนุษยธรรมยังให้ความสำคัญน้อยเกินไป

ผู้หญิงยังคงประสบกับการเลือกปฏิบัติและ ‘ความรุนแรงบนฐานของเพศสภาพ’ (gender-based violence) ในแต่ละวัน อาทิ ความรุนแรงทางเพศ การลักพาตัว หรือการฆ่าเพื่อเกียรติ (honour killings) บว... (เพิ่มเติม)

UNFPA คาดการณ์โควิด-19 ทำให้ผู้หญิงหลายล้านคนไม่สามารถเข้าถึงบริการคุมกำเนิดได้

กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) หน่วยงานด้านสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ของสหประชาชาติ เปิดเผยข้อมูลใหม่ในวันที่ 11 มีนาคม 2021 ระบุว่าจากการคาดการณ์ มีผู้หญิงเกือบ 12... (เพิ่มเติม)

ผู้หญิงญี่ปุ่นฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นในปี 2020 อาจเพราะโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อผู้หญิงรุนแรงกว่า

ญี่ปุ่นเป็นประเทศพัฒนาแล้วที่เคยมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงที่สุดในโลก แต่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ญี่ปุ่นประสบความสำเร็จอย่างมากในการลดอัตราการฆ่าตัวตายลงได้ถึงราวหนึ่งในสาม แต่ในปี 2020... (เพิ่มเติม)

ผลกระทบจากโควิด-19 จะทำให้เด็กหญิงกว่า 10 ล้านคนเสี่ยงกับการแต่งงานก่อนวัยอันควร

UNICEF เผยแพร่ข้อมูล ‘COVID-19: A threat to progress against child marriage’ คาดการณ์ผลกระทบจากโควิด-19 ที่ทำให้ความก้าวหน้าในการขจัดการแต่งงานในเด็กก่อนวัยอันควร (Child Marriage)... (เพิ่มเติม)

ช่องว่างรายได้ที่ต่างกันเพราะเพศสภาพ (Gender Pay Gap) มีทั้งย่ำแย่ลง ดีขึ้นแต่ยังใช้เวลานานเกินไป และถูกกระทบเพราะโควิด-19

การส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมทางเพศมีที่เด่นชัดประการหนึ่งคือการจ่ายเงินเดือนที่เท่าเทียมกันสำหรับชายหญิงในตำแหน่งงานเดียวกัน-ระดับเดียวกัน-บริษัทเดียวกัน ตัวอย่างที่ได้หยิบย... (เพิ่มเติม)

“Talentism” เตรียมทักษะให้พร้อมหลังโควิด-19 เริ่มได้ด้วย “การศึกษา” และ “อินเตอร์เน็ต” ที่เข้าถึงได้สำหรับทุกคน

ถิรพร สิงห์ลอ “Talentism” เป็นคำที่ปรากฏตัวมาสักระยะ เพื่อ “Reset” ระบบทางสังคมและเศรษฐกิจ เฉกเช่นที่โลกต้องคิดใหม่และวางรากฐานการเปลี่ยนแปลงสู่โลกหลังโควิด-19 โดยเน้นการปรับเพ... (เพิ่มเติม)

ฝึกฝนครู – เชื่อมต่อ digital divide – คิดหลักสูตรใหม่ จินตนาการถึงการศึกษารูปแบบใหม่ในช่วงวิกฤติโรคระบาด

เขียนเมื่อ 25 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ การศึกษาเป็นสิทธิพื้นฐานและบริการสาธารณะสำหรับทุกคน ที่นำมาซึ่งรากฐานของโอกาสต่าง ๆ ในชีวิต การขยับขยายทางสังคม การหลุดพ้นออกไปจากความยา... (เพิ่มเติม)

การเข้าถึงวัคซีนก็มีประเด็น “ความเหลื่อมล้ำ” โจทย์สำคัญของ WHO และประชาคมโลก

เขียนเมื่อ 20 มกราคม 2564IHPP เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2564 ที่ผ่านมานี้ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 148 (148th Session WHO Executive Board) ที่เป็นการประช... (เพิ่มเติม)

“Vaccine Nationalism” ทำให้ประเทศที่รวยจนไม่เท่ากันเข้าถึงวัคซีนได้ไม่เท่าเทียม

เขียนเมื่อ 15 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ ขณะที่วัคซีนอาจเป็นความหวังเดียวที่จะหยุดยั้งโควิด-19 ได้ ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ได้ชี้สถานการณ์ของวัคซีนป้องกันโควิด-19 ว่าปัญหาที... (เพิ่มเติม)

9 of 33