SDGs จะช่วยภาคเอกชน หรือภาคเอกชนจะผลักดัน SDGs ได้อย่างไร? อย่างน้อยเริ่มจากตระหนักว่า “ไม่มีงานเหลือให้ทำ ในโลกที่ตายไปแล้ว”

ถิรพร สิงห์ลอ ภาพลักษณ์ด้านลบส่วนใหญ่ที่ประชาชนมีต่อภาคธุรกิจคือการหลีกเลี่ยงภาษี การล็อบบี้ และการละเมิดสิทธิมนุษยชน จนเกิดคำถามว่าจะมีส่วนช่วยผลักดัน SDGs ได้อย่างไร ? ในขณะท... (เพิ่มเติม)

SDG Updates | ACT NOW! in “DECADE OF ACTION (2021-2030)” : อัปเดตความก้าวหน้า สำรวจความท้าทาย แล้วลงมือทำได้เลย!

ถิรพร สิงห์ลอ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2564 ที่ผ่านมา โครงการวิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move) และสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) จัดเสวนาวิชาการ... (เพิ่มเติม)

ไทยและประเทศสมาชิก WTO ลงนามข้อตกลง ไม่กำหนดข้อห้ามการส่งออกอาหารเพื่อประโยชน์ด้านมนุษยธรมในสถานการณ์ COVID-19

53 ประเทศสมาชิกขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ลงนามในข้อตกลงที่จะไม่กำหนดข้อห้ามหรือข้อจำกัดการส่งออกสินค้าอาหารที่ซื้อเพื่อวัตถุประสงค์ด้านมนุษยธรรมและไม่ใช่... (เพิ่มเติม)

การจัดทำข้อมูล “Disaggregated data” มีความท้าทายและจะช่วยวัดความยากจนได้อย่างไร? UNECE เผยแพร่แนวทางช่วยไขปัญหาให้นักสถิติและนักนโยบาย จัดการความยากจนได้ตรงจุดขึ้น

ถิรพร สิงห์ลอ ความยากจนเป็นเรื่องที่ซับซ้อน เพราะไม่ใช่แค่การไม่มีเงิน ไม่มีรายได้ แต่ยังเป็นเรื่องของการไม่ได้ถูกนับรวม (exclusion) และเบียดขับให้เป็นชนชายขอบทางสังคม (social ... (เพิ่มเติม)

“Delivery วัคซีนโควิด-19” อย่างมีประสิทธิภาพคือปลายทางของความสำเร็จ : WTO แนะนำ 7 Checklist สำหรับการพัฒนาและนำส่งวัคซีนโควิด-19

เขียนเมื่อ 25 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ ปัจจุบันเริ่มมีการนำส่งและจ่ายแจกวัคซีนโควิด-19 แล้ว ปัจจัยสำคัญสู่ความสำเร็จของการสร้างภูมิคุ้มกันโรคประการหนึ่งคือการมีห่วงโซ่อุปทาน (... (เพิ่มเติม)

Leave no one behind: ทำไมผู้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานและผู้ลี้ภัยถึงควรได้รับการฉีดวัคซีนเหมือนกัน

เขียนเมื่อ 21 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ เมื่อพูดถึงประเด็นการฉีดวัคซีน เรานึกถึงการเข้าถึงวัคซีนสำหรับคนสัญชาตินั้นเท่านั้น ทว่าประเด็นผู้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานและผู้ลี้ภัยมีความสำ... (เพิ่มเติม)

รายงานธนาคารโลกชี้ “เศรษฐกิจโลกปี 2564 จะฟื้นตัว แต่เป็นไปอย่างช้าจนถึงปี 2568”

เขียนเมื่อ 20 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ เครือธนาคารโลก เผยแพร่ “รายงานแนวโน้มเศรษฐกิจโลก เดือนมกราคม 2564 (Global Economic Prospects, January 2021)” โดยชี้ว่า แม้คาดการณ์ว่าเศร... (เพิ่มเติม)

การเข้าถึงวัคซีนก็มีประเด็น “ความเหลื่อมล้ำ” โจทย์สำคัญของ WHO และประชาคมโลก

เขียนเมื่อ 20 มกราคม 2564IHPP เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2564 ที่ผ่านมานี้ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 148 (148th Session WHO Executive Board) ที่เป็นการประช... (เพิ่มเติม)

จับตาไวรัสโคโรนาและเรียนรู้วัคซีนป้องกันไวรัสอีโบลาไปพร้อมกัน

เขียนเมื่อ 19 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ ขณะที่ประเด็นโควิด-19 เป็นที่สนใจของโลกและมีความคืบหน้าในเรื่องของการผลิต การแจกจ่ายและเริ่มฉีดวัคซีนเพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคซึ่ง... (เพิ่มเติม)

“Vaccine Nationalism” ทำให้ประเทศที่รวยจนไม่เท่ากันเข้าถึงวัคซีนได้ไม่เท่าเทียม

เขียนเมื่อ 15 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ ขณะที่วัคซีนอาจเป็นความหวังเดียวที่จะหยุดยั้งโควิด-19 ได้ ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ได้ชี้สถานการณ์ของวัคซีนป้องกันโควิด-19 ว่าปัญหาที... (เพิ่มเติม)

รัฐต่าง ๆ กำลังเตรียมตัวกลับมาประชุมใน “กระบวนการทบทวนเพื่อพัฒนา HLPF” อีกครั้งในปีนี้ หลังจากเลื่อนกำหนดการจากปีที่แล้วเพราะการระบาดของโควิด-19

เขียนเมื่อ 13 มกราคม 2564 ถิรพร สิงห์ลอ กระบวนการทบทวน (The consultation and negotiation process) เพื่อพัฒนาการประชุมหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (High-lev... (เพิ่มเติม)

SDG Updates | 7 นาที สรุป 7 ประเด็นเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับสถานการณ์ลุ่มแม่น้ำโขง ฉบับ 101

เมื่อต้นเดือนมกราคม 2564 กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ออกประกาศแจ้งเตือนเรื่อง ระดับน้ำในแม่น้ำโขงลดลงจากการลดการระบายน้ำของเขื่อนจิ่งหง หนึ่งในเขื่อนของประเทศจีนที่เป็นเขื่อนตอ... (เพิ่มเติม)

12 of 506