จากสลัมถึงห้องเรียน: บนเส้นทางที่ท้าทายและโอกาสไปถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของเด็กจนเมืองในมหานครกรุงเทพ

“มหานคร” หรือ “Megacity” เป็นคำสำคัญที่ถูกพูดถึงอย่างต่อเนื่องในกระแสการพัฒนาของศตวรรษปัจจุบัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการตั้งถิ่นฐานและดำรงชีวิตของผู้คนที่มีแนวโน้มขยับย้ายจากชนบท... (เพิ่มเติม)

การผลิตไฟฟ้าจากขยะในประเทศไทย มีเทคโนโลยีและแหล่งของเสียใดบ้างที่เกี่ยวข้อง และนำไปสู่การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์อย่างไร

ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทยปี พ.ศ. 2556 ในทุกภาคส่วนอยู่ที่ประมาณ 164,341 กิกกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) แบ่งเป็น ภาคที่อยู่อาศัย 37,657 กิกกะวัตต์-ชั่วโมง ภาคบริการทั่วไปขนาดเล็ก 18,... (เพิ่มเติม)

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไร ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘ดร. วาสินี วรรณศิริ’

ชวนอ่านงานวิจัย “โครงการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงพื้นที่ระดับจังหวัด” โดย ดร. วาสินี วรรณศิริ สาขาภูมิศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ... (เพิ่มเติม)

SDG Spotlight – 7 ข่าว SDGs น่าสนใจในรอบสัปดาห์ที่ 1 ประจำเดือนมกราคม 2566

จากการสำรวจข่าวสารความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อการขับเคลื่อน SDGs ระหว่างวันที่  31 ธันวาคม 2565 – 6 มกราคม 2566 มีข่าวสารความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจ ดังนี้ นักท่องเ... (เพิ่มเติม)

พัฒนาการออกแบบ ‘พื้นที่สีเขียว’ ในเมืองอย่างยั่งยืน เพื่อสุขภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชากร ผ่านการศึกษาแบบจำลองสิ่งแวดล้อม

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สังคมให้ความสำคัญกับ ‘พื้นที่สีเขียว’ (green space) และการอนุรักษ์ธรรมชาติมาอย่างยาวนาน เพราะการออกแบบเมืองให้มีพื้นที่สีเขียวนั้น มีส่วนช่วยในการสร้างประ... (เพิ่มเติม)

ชวนสำรวจแหล่งกำเนิดและแนวทางลดฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ต.หน้าพระลาน จ.สระบุรี จากงานวิจัยของ ‘ผศ.ดร.ธงชัย ขนาบแก้ว’

ชวนอ่านงานวิจัย “โครงการศึกษาเพื่อหาแหล่งกำเนิดฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี และพื้นที่โดยรอบเขตควบคุมมลพิษในรัศมีไม่เกิน 10 กิโลเมตร” โดย ผศ... (เพิ่มเติม)

การวิเคราะห์การไหลของวัสดุพลาสติก และผลการจำลองสถานการณ์ผ่านนโยบายรัฐ เพื่อใช้ในการจัดการขยะพลาสติกในประเทศไทย

การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยส่งผลให้การผลิตและการบริโภคพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ผลพวงจากการผลิตและการบริโภคทำให้ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาก... (เพิ่มเติม)

พื้นที่ต้นแบบ ‘ชุมชนริมคลองลาดพร้าว’ มีแนวทางพัฒนาระบบขนส่งทางน้ำและการท่องเที่ยวอย่างไร? ชวนหาคำตอบจากงานวิจัยของ ‘รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล’

ชวนอ่านงานวิจัย “การพัฒนาชุมชนเศรษฐกิจหมุนเวียนเชิงบูรณาการด้วยนวัตกรรมการเชื่อมต่อระบบขนส่งทางน้ำ” โดย รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรร... (เพิ่มเติม)

การพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ยั่งยืน ทำไมต้องคำนึงถึง ‘ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย’ และความร่วมมือ ‘ภาครัฐ-เอกชน’ สำคัญอย่างไร ?

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบันส่งผลให้ ‘เมือง’ ในหลายประเทศเติบโตและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ระดับทางเศรษฐกิจขยับใหญ่ขึ้น ขณะที่อสังหาริมทรัพย์และโครงสร้างพื้นฐานก็ถูกพัฒนาอย่างร... (เพิ่มเติม)

ชวนอ่านรายงานความก้าวหน้าด้านความยั่งยืนของฟุตบอลโลก 2022: จากวิสัยทัศน์เปิดประตูการพัฒนาถึงการผลักดัน 5 เสาหลักเพื่อความยั่งยืน

เดินทางมาถึงรอบ 16 ทีมสุดท้ายแล้วสำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 ระหว่างรอลุ้นว่าประเทศใดจะได้ครองแชมป์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของวงการลูกหนังในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า SDG News ฉบับนี้ ช... (เพิ่มเติม)

ปิดฉากประชุม APEC ครั้งที่ 28 ชวนสำรวจ 4 ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ SDGs

ปิดฉากเป็นที่เรียบร้อยสำหรับการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปก (APEC Economic Leaders’ Meeting) หรือการประชุมเอเปก ครั้งที่ 28 ณ ประเทศไทย ซึ่งตลอดระยะเวลา 6 วัน คือระหว่างวันที่ 14 –... (เพิ่มเติม)

ฝุ่น PM2.5 อีกภัยคุกคามก่อโรค ‘มะเร็งปอด’ หวั่นกระทบสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะเชียงใหม่ครองค่าฝุ่นติดอันดับโลก

“ฝุ่น PM2.5 ทำให้คนป่วยเป็นมะเร็งปอด” นับเป็นประเด็นสำคัญที่ในสังคมและโลกออนไลน์ ให้ความสนใจกันอย่างมาก ณ ขณะนี้  โดยหลังจากกรณี นพ.กฤตไท ธนสมบัติกุล อาจารย์ประจำศูนย์ระบาดวิทยาคล... (เพิ่มเติม)

12 of 414